การเตรียมต้นฉบับ(ส่วนนำ)
ชื่อเรื่อง
•ไม่ยาวเกินไป หรือสั้นเกินไปจนผู้อ่านไม่เข้าใจ
•ต้อง specific
•อาจตั้งชื่อเรื่องในรูปของประโยคคำถาม
“ โรคมือ เท้า ปาก จัดการได้อย่างไร? ”
ข้อแนะนำ: ตั้งชื่อภายหลังเขียนส่วนอื่นทุกอย่างเสร็จสิ้นแล้ว
การตั้งชื่อบทความวิจัย
•สั้น กระชับ ใช้ศัพท์เฉพาะแทนมโนทัศน์
•เข้าใจง่าย ไม่คลุมเครือ ไม่ทำให้คนอ่านตีความผิด
•สะท้อนทุกอย่างที่เขียนในบทความอย่างถูกต้อง
•ไม่หวือหวา ไม่ตื่นเต้น ไม่ใช้ ภาษาปาก หรือคำสแลง
•ไม่กว้างเกินไป
•ทำให้คนเห็นว่าเป็นเรื่องอะไร แนวอะไร สาขาอะไร ประชากรคือใคร หรืออะไร
ตัวอย่างชื่อเรื่องบทความวิจัย
•ผลกระทบของคู่สมรสชาวต่างชาติที่มีต่อเศรษฐกิจอีสาน
•ประสิทธิภาพทางเทคนิคของโรงพยาบาลชุมชน กรณีศึกษา: โรงพยาบาลขอนแก่น
•แนวทางการพัฒนาอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก
•การพยากรณ์ภาวะล้มละลายของอุตสาหกรรมโรงสีข้าวในจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดนครราชสีมา
•ASEAN AND LOW-LEVEL SECURITY COOPERATION (Johannes Lund 2004)
•BUDDHISM AND POLITICAL LEGITIMATION IN BURMA (1988-2003)
(Rattanaporn Poungpattana 2004)
(Rattanaporn Poungpattana 2004)
•CONTINUITY AND CHANGE IN HMONG CULTURAL IDENTITY: A CASE STUDY OF HMONG REFUGEES FROM LAOS IN WAT THAMKRABOK, SARABURI, THAILAND (Heidi Jo Bleser 2004)
•CROSS-CULTURAL ADJUSTMENT AND INTEGRATION OF WESTERN EXPATRIATE WOMEN IN BANGKOK (Maria Ida Barrett 2004)
•REWAT BUDDHINAN’S INFLUENCE ON THAI POPULAR MUSIC (1983-1996) (Prit Patarasuk 2004)
ชื่อผู้แต่ง
•เรียงตามปริมาณงาน ชื่อแรกเป็นผู้มีส่วนร่วม ในการศึกษามากที่สุด
ชื่อถัดไปก็มีส่วนร่วมน้อยรองลงไปจากชื่อแรก
•ไม่จำเป็นต้องใส่ชื่อผู้ร่วมงานทุกคน เช่น คนงานถูพื้น คนทำความสะอาด เป็นต้น
ที่อยู่
•ระบุที่ทำงานของผู้แต่งทุกคน
•ถ้ามีการย้ายที่ทำงานให้เพิ่ม
“ที่อยู่ปัจจุบัน (Present address) ของผู้แต่งรายนั้นด้วย”